• Lecture 4: Event-based and reactive architecture

    ในครั้งที่สี่ 13 ก.พ. 64 เราได้ recap lecture 3 ได้คุยเพิ่มเรื่อง asynchronous call ที่ค้างไว้ครั้งก่อน และได้ introduce event-based style รวมถึง reactive architecture เป็นตัวอย่างของการสร้างซอฟต์แวร์และสถาปัตยกรรม
  • Lecture 3: Systems thinking

    ในครั้งที่สาม 6 ก.พ. 64 เราได้ recap lecture 2 ได้คุยเพิ่มเรื่อง Model ที่ค้างไว้ครั้งก่อน และได้ introduce concepts ของ systems thinking และตัวอย่างต่างๆ
  • Lecture 2: Fundamental of Software Architecture

    ในครั้งที่สอง 30 ม.ค. 64 เราได้ recap ภาพรวมของ course และ วิธีการบรรยายเคสในครั้งต่อไป ที่จะทำอย่างเป็นระบบ มีท้ังเรื่อง modeling, engineering, managing and evaluation ในมุมที่สถาปนิกต้องทำงานร่วมกับคนอื่นๆ ในวิสาหกิจ
  • Lecture 1: Introduction to CSS366

    ในครั้งแรก 23 ม.ค. 64 เราคุยกันถึงภาพรวมของวิชา enterprise software architecture ว่าจะมีเนื้อหา กิจกรรม และรูปแบบการเรียนรู้อย่างไรบ้าง เป้าประสงค์คือให้นักศึกษา เข้าใจ นำไปใช้ วิเคราะห์ อธิบาย พูดคุยกับผู้มีอาชีพเกี่ยวข้องกับการพัฒนาและดูแลการปฏิบัติการเกี่ยวกับซอฟต์แวร์ในวิสาหกิจได้
  • บันทึกการสอนวิชา CSS366 Enterprise Software Architecture 2021

    ผมได้รับคำเชิญให้ช่วยบรรยายวิชา CSS366 enterprise software architecture ของภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี 2021
  • Use of Software Architecture

    สถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์บอกถึงโครงสร้างของระบบซอฟต์แวร์ ในโครงสร้างแต่ละชิ้นจะประกอบไปด้วย software elements ความสัมพันธ์ระหว่างชิ้นส่วนหรือ elements นั้นๆ และ คุณสมบัติของทั้งหมด (ที่เป็นระบบ) เรามักเรียกสิ่งนี้ว่าเป็น quality attribute หรือ property ของระบบ สำหรับเนื้อหาที่จะคุยกันก็จะเน้นไปที่ วิสาหกิจ enterprise
  • Context of Enterprise Software Architecture

    เราจะมองวิสาหกิจเป็นหน่วยงานที่ต้องกระทำงาน เราใช้ความคิดเรื่อง input-process-output มากำหนดหน่วยที่จะทำงาน หน่วยย่อๆ ที่เรียนกว่า function unit. ในการทำสิ่งใดเราจะกำหนดขอบเขตในบริบทของเราไว้ก่อนว่า จะเป็น people process และ technology ซึ่ง 99% ของ function units จะเป็นสิ่งที่ผสมขึ้นจาก active elements เหล่านี้
  • 1
  • 2